แผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อเสริมสร้างการอยู่อย่างพอเพียง
รหัสวิชา
ส 22102 รายวิชาเศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้.สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2556 เวลา 3
ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่เรื่อง ผลิตภัณฑ์ดีที่บ้านเรา
********************************************************************************
1.
มาตรฐานการเรียนรู้
ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
2.
ตัวชี้วัดชั้นปี(เป้าหมายการเรียนรู้)
ส 3.1 ม.2/3
เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การผลิตสินค้าและการบริการสินค้าในท้องถิ่น
จะได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ
จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและการบริการพร้อมทั้งนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4.
จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 วิเคราะห์หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(K)
4.2 สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
(P)
4.3 ตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น
(A)
4.4.
ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
(P)
5.
สาระการเรียนรู้
5.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
-
หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-
สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
-
ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น 6.
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
-ปฏิบัติได้ครบ 1-2 ข้อ ได้ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ พอใช้
6.1 ความสามารถในการสื่อสาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
7.
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
6.2 มีวินัย
6.3 แสวงหาความรู้
6.4 อยู่อย่างพอเพียง
6.5 รักความเป็นไทย
6.6. มีจิตสาธารณะ
8. ชิ้นงาน/ภาระงาน
8.1 ใบงานที่ 1 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
8.2 ใบงานที่ 2 สรุป เรื่อง แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8.3 ใบงานที่ 3 เรื่อง สำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น(ข้าวหลาม)
9. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1.1 นักเรียนชม VCD ชุด “พอเพียงตามแนวคิดของ พ่อ”
1.2
สนทนาซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่ชม โดยตั้งประเด็นคำถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้
- เรื่องที่ชม
เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
- ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
1.3
แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2) ขั้นการจัดการเรียนรู้
1.4 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ครูชี้แจงการดำเนินงานโดยใช้กระบวนการกลุ่มให้นักเรียนทราบ
1.5 แจกใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความหมาย แนวคิดหลัก เป้าหมาย
หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.6 นักเรียนวิเคราะห์แนวทางการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แล้วเขียนสรุปผลการวิเคราะห์ลงในใบงานที่ 1
1.7 ให้นักเรียนส่งผลงานพร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม
1.8 ครูประเมินผลงานจากการตรวจใบงาน
ชั่วโมงที่ 2
1.9 นักเรียนชม VCD. ชุด “วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
1.10 ร่วมกันสนทนาซักถาม
เกี่ยวกับเนื้อหาในVCD. โดยตั้งประเด็นคำถาม ดังนี้
- วิถีชีวิตของบุคคลในVCD.
มีอะไร
- บุคคลในเรื่อง
ยึดหลักการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องใดบ้าง
1.11นักเรียน สรุปแผนผังความคิด(Mind Mapping) เรื่อง แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
ในใบงานที่ 2
1.12 ให้นักเรียนส่งผลงานพร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม
1.13 ครูประเมินผลงานจากการตรวจใบงาน
1.14 ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปสำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการ
ในท้องถิ่น ล่วงหน้าโดยไปสำรวจนอกเวลาเรียน
ชั่วโมงที่ 3
1.15 ทบทวนภาระงานที่ครูมอบหมายให้ไปสำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการใน
ท้องถิ่น ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
1.16 กำหนดให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสำรวจหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม
1.17 ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม
1.18 ครูให้คำชมเชยกลุ่มที่มีผลงานดีเด่น
และให้ข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
3) ขั้นสรุป
1.19 นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
เรื่อง หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
และ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
10. สื่อ /
แหล่งเรียนรู้
10.1 VCD. ชุด “พอเพียงตามแนวคิดของ พ่อ”
10.2 VCD. ชุด “วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง”
10.3 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
10.4 ใบงานที่ 1 เรื่อง
การวิเคราะห์แนวทางการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10.5 ใบงานที่ 2 สรุป เรื่อง แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10.6 ใบงานที่ 3 เรื่อง
สำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น
11.
การวัดและประเมินผล
11.1 วิธีการวัด
11.1.1 ตรวจใบงานที่ 1
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
11.1.2
ตรวจใบงานที่ 2 สรุป เรื่อง แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.1.3 ตรวจใบงานที่ 3 เรื่อง สำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น
(ข้าวหลาม)
11.1.4 ประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.1.5 ประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.2 เครื่องมือวัด
11.2.1 แบบประเมินใบงาน
11.2.2 แบบประเมินแผนผังความคิด
11.2.3 แบบประเมินการสำรวจ
11.2.4 แบบประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.3.5แบบประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11.3 เกณฑ์การวัด
11.3.1 เกณฑ์การวัดใบงาน
15-20
คะแนน
อยู่ในเกณฑ์ ดี แสดงว่า ผ่าน
10-14 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ แสดงว่า
ผ่าน
ต่ำกว่า 10 คะแนน อยู่ในเกณฑ์
ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
11.3.2 เกณฑ์การวัดแผนผังความคิด
16-20 คะแนน
อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก แสดงว่า
ผ่าน
11 – 15 คะแนน อยู่ในเกณฑ์
ดี แสดงว่า ผ่าน
6 – 10 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้
แสดงว่า ผ่าน
0 – 5 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง
แสดงว่า ไม่ผ่าน
11.3.3 เกณฑ์การสำรวจ
- ระบุปัญหาการผลิต การบริการ
และแนวทางแก้ไขได้ชัดเจน ตั้งแต่ 5 ปัญหาขึ้นไป
ได้ 3 คะแนน
อยู่ในเกณฑ์ ดี แสดงว่า
ผ่าน
- ระบุปัญหาการผลิต การบริการ
และแนวทางแก้ไขได้ชัดเจน ตั้งแต่ 2-4 ปัญหา
ได้ 2 คะแนน อยู่ในเกณฑ์
พอใช้ แสดงว่า ผ่าน
- ระบุปัญหาการผลิต การบริการ
และแนวทางแก้ไขได้ชัดเจน 1 ปัญหา
ได้ 1 คะแนน
อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง แสดงว่า
ไม่ผ่าน
11.3.4 เกณฑ์แบบประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-ปฏิบัติได้ครบ 5 ข้อ
ได้ 3 คะแนน
ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
-ปฏิบัติได้ครบ 3-4 ข้อ
ได้ 2 คะแนน
ระดับคุณภาพ ดี
-ปฏิบัติได้ครบ 1-2 ข้อ ได้ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ พอใช้
-ปฏิบัติไม่ได้ทุกหัวข้อ ได้ 0 คะแนน
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
11.3.5เกณฑ์การประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
26 – 30 คะแนน
ดีมาก
20 – 25
คะแนน ดี
15 – 19 คะแนน
พอใช้
ต่ำกว่า 1-15 คะแนน ต้องปรับปรุง
ด้าน
วัด
|
อยู่อย่างพอเพียง...สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง
ๆ
|
|||
วัตถุ
|
สังคม
|
สิ่งแวดล้อม
|
วัฒนธรรม
|
|
ความรู้
|
-การผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น
-ได้ความรู้
เรื่อง หลักการ เป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-
ปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น
|
-
มีความรู้ในการทำงานเป็นกระบวนการกลุ่ม
-มีความรู้ในการนำเสนองาน
-การวางแผนการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
|
-มีความรอบรู้ในการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
-รู้สาเหตุและปัญหาของการผลิตและการบริการผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
|
-การเรียนรู้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
|
ทักษะ
|
-มีทักษะในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า
-
การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
|
-มีทักษะในการทำงาน
-ระบุปัญหาและสามารถแก้ปัญหาโดยใช้หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
-ใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมด้วยความเคารพและระมัดระวัง
|
-ดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
-มีทักษะในการใช้ภาษาเขียน
สื่อสารได้เหมาะสมกับวัฒนธรรม
|
ค่านิยม
|
-
ใช้วัสดุในท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า
-
ใช้งบประมาณอย่างประหยัด
|
-มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง
-เห็นคุณค่า
-เป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
-รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-มีความสามัคคี เสียสละ
บำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
|
-มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
-ใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัด
|
-การใช้แหล่งเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ครูผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้าง ในขั้นเตรียมการสอน/จัดการเรียนรู้
ประเด็น
|
หลักพอประมาณ
|
หลักมีเหตุผล
|
หลักสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
|
สื่อ
|
-
มีสื่อ/อุปกรณ์ที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน
|
-เพื่อเป็นสื่อกลางที่ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างชัดเจน
|
-การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพบรรลุตามเป้าหมาย
|
เวลา
|
-จัดเวลาให้เหมาะสมเพียงพอกับกิจกรรมการเรียนการสอน
|
-ครูสอนตรงตามแผนที่กำหนดไว้
|
-ครูสอนได้ครอบคลุมกิจกรรมการเรียนการสอนที่กำหนดไว้
|
วัสดุ/อุปกรณ์
|
-
จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ที่เหมาะสมสอดคล้องกับตัวชี้วัด
และที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น
|
-ทำให้ครูนำวัสดุอุปกรณ์การสอนเป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร
|
-วัสดุอุปกรณ์ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เรียน
|
เนื้อหา
|
-จัดเนื้อหาให้สอดคล้องพอเหมาะกับผู้เรียน
ไม่ยาก ไม่ง่ายเกินไป
|
-ครูสามารถนำเนื้อหาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามตัวชี้วัด
|
-จัดเนื้อหาตรงตามหลักสูตรที่กำหนด
|
กิจกรรมการเรียน
|
-ใช้กระบวนการกลุ่ม
|
-ครูสามารถใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนตามขั้นตอน
|
-บรรลุตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
|
ความรู้ - ครูผู้สอนมีความรู้ เรื่อง การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมไปใช้ในการจัดกิจกรรม,ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น,การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
|
|||
คุณธรรม - มีความขยัน ใฝ่เรียนรู้ มีความประหยัด มีเหตุผล มีความรักเมตตาศิษย์ มีความยุติธรรม มีความรอบคอบ
|
นักเรียนจะได้เรียนรู้ที่จะอยู่อย่างพอเพียง
อย่างไรบ้าง จากกิจกรรมการเรียนรู้นี้
ประเด็น
|
หลักพอประมาณ
|
หลักมีเหตุผล
|
หลักสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
|
สื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์
(ใบงาน,ใบความรู้,VCD)
|
-
ใช้สื่อ/อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับวัย
|
-เพื่อนักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างชัดเจน
|
-การเรียนรู้ของนักเรียนเกิดประสิทธิภาพบรรลุตามเป้าหมาย
|
เวลา
|
-แบ่งเวลาให้เหมาะสมเพียงพอกับเนื้อหาที่เรียน
|
-นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างครบถ้วนตรงตามตัวชี้วัด
|
-นักเรียนวางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพ
|
วัสดุ/อุปกรณ์
|
-
ใช้วัสดุ/อุปกรณ์ที่เหมาะสมสอดคล้องกับตัวชี้วัด และที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น
|
-ทำให้นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ตามเป้าหมายของหลักสูตร
|
-วัสดุอุปกรณ์ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เรียน
|
เนื้อหา
|
-มีเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
ไม่ยาก ไม่ง่ายเกินไป
|
-สามารถนำเนื้อหาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
|
-นักเรียนได้เรียนรู้ตามเนื้อหาที่กำหนด
|
กิจกรรมการเรียน
|
-ใช้กระบวนการกลุ่ม
|
-นักเรียนสามารถเรียนรู้ตามขั้นตอน
|
-นักเรียนรู้จักการวางแผน
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นผู้นำใช้ความสามารถให้เหมาะสมกับตนเอง
|
ความรู้ – นักเรียนมีความรู้
เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เทคนิควิธีการสำรวจปัญหาและการบริการผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น,
การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
|
|||
คุณธรรม
-
ขยันในการปฏิบัติงาน , ค้นคว้าข้อมูล , มีความรับผิดชอบ, มีความสามัคคีในการทำงานกลุ่ม, ความประหยัด
, มีวินัย,มีความพอเพียง
|
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คำชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้
แล้วตอบคำถาม
เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำรัสชี้แนะแนวทาง
การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี
ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น
และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
* แนวคิดหลัก
เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
* เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
* หลักการ
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
เงื่อนไขพื้นฐาน
- จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการ
ต่าง
ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน
- การเสริมสร้างจิตใจของตนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ
นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้สำนึกคุณธรรม
ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา
และความรอบคอบ
* นิยามของความพอเพียง
ความพอประมาณ หมายถึง
ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ
และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
* เงื่อนไขเพื่อให้เกิดความพอเพียง
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ให้พอเพียงต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรม
พื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม เช่น
มีความซื่อสัตย์สุจริต
ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,หนังสือเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
2549.
ใบงานที่ 1
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
คำชี้แจง : นักเรียนวิเคราะห์แนวทางการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ .........................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.
ความมีเหตุผล
.................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวที่ดี
..................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
4.
เงื่อนไขความรู้
................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
5.
เงื่อนไขคุณธรรม
.............................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
เฉลย ใบงานที่ 1
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
คำชี้แจง : นักเรียนวิเคราะห์แนวทางการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคำตอบ
1. ความพอประมาณ เช่น ด้านการเรียน
อ่านหนังสือพอประมาณแก่วัยและเวลา
ด้านสุขภาพ
อย่าอ่านหนังสือดึกให้พักผ่อนมาก ๆ ด้านกีฬา เล่นกีฬาที่ตนเองชอบและถนัด
2.
ความมีเหตุผล เช่น การใช้จ่ายอย่างประหยัด
รู้จักลำดับความสำคัญของการใช้เงิน
การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การอดอออม
3. มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวที่ดี เช่น การวางแผนการอ่านหนังสือ
เพื่อเตรียมตัวสอบ
การปลูกต้นไม้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
4.
เงื่อนไขความรู้ มีความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
5.
เงื่อนไขคุณธรรม การเป็นคนดี
ประพฤติตนตามหลักธรรม เช่น มีความรับผิดชอบ
มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยัน
มีความรอบคอบ
ใบงานที่ 2
สรุป เรื่อง
แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คำชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปแนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแผนผังความคิด
(Mind Mapping)
หัวข้อละ 2 แนวทาง
เศรษฐกิจ สังคม
แนวทางการดำเนินชีวิต
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
เฉลย ใบงานที่ 2
สรุป เรื่อง
แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คำชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปแนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแผนผังความคิด
(Mind Mapping)
หัวข้อละ 2 แนวทาง
แนวคำตอบ
ออมเงิน ทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย จิตอาสา ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
ออมเงิน ทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย จิตอาสา ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
อนุรักษ์ต้นน้ำ ปลูก/ฟื้นฟูป่าไม้่ อนุรักษ์อาหารท้องถิ่น พูดภาษาถิ่น
ใบงานที่ 3
คำชี้แจง : ให้นักเรียนสำรวจปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่นโดยบันทึกข้อมูล
การสำรวจลงในตาราง
แบบสำรวจ ปัญหาการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น (ข้าวหลาม)
ชื่อกลุ่ม ...................................................................
วัน เดือน ปี
ที่สำรวจ
|
ปัญหา
การผลิต
|
ปัญหา
การบริการ
|
แนวทางแก้ไข
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
.........................
|
1..............................................
................................................
2..............................................
................................................
3 .............................................
................................................
4.............................................
................................................
|
1..............................................
................................................
2..............................................
................................................
3 .............................................
................................................
4.............................................
................................................
|
1..............................................
................................................
2..............................................
................................................
3 .............................................
................................................
4.............................................
................................................
|
ลงชื่อ ..................................................ผู้สำรวจ
(..................................................)
แบบประเมินการตรวจใบงาน
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
ลำดับที่
|
ชื่อกลุ่ม
|
ความสมบูรณ์
ของเนื้อหา
(5 คะแนน)
|
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
(5 คะแนน)
|
ความตั้งใจในการทำงาน
(5 คะแนน)
|
ความคิดสร้างสรรค์
(5 คะแนน)
|
รวม
(20คะแนน)
|
1
| ||||||
2
| ||||||
3
| ||||||
4
| ||||||
5
| ||||||
6
| ||||||
7
| ||||||
ฯลฯ
|
เกณฑ์การประเมิน
15-20 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี แสดงว่า ผ่าน
10-14 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ แสดงว่า ผ่าน
ต่ำกว่า 10 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
แบบประเมินการตรวจแผนผังความคิด(Mind Mapping)
เรื่อง สรุป เรื่อง แนวทางการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ลำดับที่
|
ชื่อกลุ่ม
|
เนื้อหาถูกต้อง
(5)
|
เนื้อหาครอบคลุมสมบูรณ์
(5)
|
เนื้อหาสร้างสรรค์
(5)
|
ความสวยงาม
(5)
|
รวมคะแนน
(20)
|
1
| ||||||
2
| ||||||
3
| ||||||
4
| ||||||
5
| ||||||
6
| ||||||
7
| ||||||
ฯลฯ
|
เกณฑ์การประเมิน
- 16-20 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก แสดงว่า ผ่าน
- 11 – 15 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี แสดงว่า ผ่าน
- 6 – 10 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ แสดงว่า ผ่าน
- 0 – 5 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
แบบประเมินการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการผลิตสินค้าและการบริการในท้องถิ่น(ข้าวหลาม)
เรื่อง .............ผลิตภัณฑ์ดีตามวิถีพอเพียง.......................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่.... 2........
ที่
|
ชื่อกลุ่ม
|
รายการประเมินพฤติกรรม
|
ผลการประเมิน
| ||||
ความพอ
ประมาณ
|
ความมีเหตุผล
|
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
|
ความรู้
|
มีคุณธรรม
| |||
1
| |||||||
2
| |||||||
3
| |||||||
4
| |||||||
5
| |||||||
6
| |||||||
7
| |||||||
8
| |||||||
ฯลฯ
|
ลงชื่อ ..........................................ผู้ประเมิน
(.......................................)
วันที่ .............................................
เกณฑ์การประเมิน
ปฏิบัติได้ครบ 5 ข้อ ได้ 3 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
ปฏิบัติได้ครบ 3-4 ข้อ ได้ 2 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี
ปฏิบัติได้ครบ 1-2 ข้อ ได้ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ พอใช้
ปฏิบัติไม่ได้ทุกหัวข้อ ได้ 0 คะแนน ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
ผลการประเมินได้ 3 คะแนน แสดงว่า ผ่าน
ผลการประเมินได้ 2 คะแนน แสดงว่า ผ่าน
ผลการประเมินได้ 1 คะแนน แสดงว่า ไม่ผ่าน
แบบประเมินคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง การประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
ที่
|
ชื่อ - สกุล
|
รายการประเมิน
| |||||
ความซื่อสัตย์
(5)
|
สติ
ปัญญา
(5)
|
ขยัน
อดทน
(5)
|
ความ
สามัคคี
(5)
|
ความ
รับผิดชอบ
(5)
|
การ
แบ่งปัน
(5)
| ||
ลงชื่อ ..........................................ผู้ประเมิน
(.......................................)
วันที่ .............................................
เกณฑ์การประเมิน
26 – 30 คะแนน ดีมาก
20 – 25 คะแนน ดี
15 – 19 คะแนน พอใช้
ต่ำกว่า 1-15 คะแนน ต้องปรับปรุง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น